-•=»‡«=•- ReBoRn9Th-•=»‡«=•-

กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Miv31

Join the forum, it's quick and easy

-•=»‡«=•- ReBoRn9Th-•=»‡«=•-

กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Miv31

-•=»‡«=•- ReBoRn9Th-•=»‡«=•-

Would you like to react to this message? Create an account in a few clicks or log in to continue.
สมาชิกทันใดทำผิดกฎระเบียบของทางบอร์ดเราจะแบนทันทีไม่มีตักเตือนน

4 posters

    กฏหมายอาญา ค ริ ~ ค ริ ~ ^o^

    ฮิบารินจัง
    ฮิบารินจัง
    LEVEL 47
    LEVEL 47


    จำนวนข้อความ : 467
    ~::MØÑ€Ÿ::~ ~::MØÑ€Ÿ::~ : 644
    ชื่อเสียง&น้ำใจ ชื่อเสียง&น้ำใจ : 16
    วันที่ลงทะเบียน : 22/12/2010
    อายุ : 26
    ทีอยู่ ทีอยู่ : โซลโซไซตี้
    สัตว์เลี้ยง สัตว์เลี้ยง : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 873uu
    อาวุธ&อุปกรณ์ อาวุธ&อุปกรณ์ : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Gnnhlกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Serht
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 27p84กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 1vm6xกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ G1jf8
    เหรียญตรา เหรียญตรา : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 15034169กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Medal116

    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Empty กฏหมายอาญา ค ริ ~ ค ริ ~ ^o^

    ตั้งหัวข้อ by ฮิบารินจัง Thu 6 Jan - 8:51

    ประวัติศาสตร์กฎหมายอาญาไทย
    แม้ว่าตามแนวคิดและทฤษฎีของกฎหมายอาญา กฎหมายควรจะมีการบัญญัติขึ้นจากเจตจำนงค์ของประชาชน (ภาษาเยอรมัน Volkgeist) ก็ตาม แต่ในประเทศไทย ประมวลกฎหมายอาญาที่ใช้ในปัจจุบัน มิได้มีการบัญญัติขึ้นตามแนวคิดดังกล่าว หากแต่เป็นการเร่งรัดและรีบให้มีการออกกฎหมายดังกล่าวเพื่อให้กฎหมายมีความเหมาะสมตามกาลสมัยที่พัฒนามาจาก กฎหมายลักษณะอาญา รศ.๑๒๗ เพื่อให้กฎหมายมีความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ (ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย เป็นผู้ร่างประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีการประกาศใช้ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙)

    [แก้] ประวัติศาสตร์กฎหมายอาญาสากล
    [แก้] หลักกฎหมายอาญาภาคทั่วไป
    1.กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ “ถ้อยคำ” ในบทบัญญัติกม.อาญาต้องมีความชัดเจนหลีกเลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้การตัดสินคดีขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัย และอำเภอใจผู้พิจารณาคดี
    2.ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (การให้เหตุผลโดยอ้างความคล้ายคลึงกัน) ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
    3.กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม.ที่ใช้ในขณะกระทำการนั้นกม.อาญาในที่นี้ คือ บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับการกระทำผิดและโทษ (Nullum crimen, nulla peona sina lega หรือ No crime, no punishment without law)
    4.กฎหมายอาญาต้องแปลหรือตีความโดยเคร่งครัด ความเข้าใจที่ว่าหากตีความตามตัวอักษรแล้วหากข้อความนั้นไม่ชัดเจนจึงค่อยพิจารณาถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ที่ถูกต้องคือ การตีความกฎหมายอาญาจะต้องตีความทั้งตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน โดยไม่สามารถเลือกตีความอย่างใดอย่างเพียงอย่างเดียวก่อนหรือหลังได้ การตีความกฎหมายดังที่กล่าวมาจึงอาจมีการตีความอย่างแคบหรืออย่างกว้างก็ได้ ทั้งนี้ เกิดจากการพิจารณาตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน โดยอาจกล่าวได้ว่ามีแต่การตีความกฎหมายนั้นมีแต่การตีความโดยถูกต้องเท่านั้น และการที่กฎหมายอาญาจะต้องตีความโดยเคร่งครัดนั้น หมายความว่า ห้ามตีความกฎหมายเกินตัวบท โดยในกรณีที่เกิดช่องว่างของกฎหมายขึ้นจากการตีความที่ถูกต้องแล้ว จะไม่สามารถนำกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่ง (Analogy) มาปรับใช้เพื่อลงโทษผู้กระทำได้
    5.ห้ามใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นลงโทษทางอาญาแก่บุคคล เพราะตัวบทมาตรา 2 ใช้คำว่า “บัญญัติ” และสอดคล้องกับข้อ 1 เพราะจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นเรื่องของแต่ละท้องถิ่น ไม่ชัดเจนแน่นอน แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
    [แก้] ประเภทของความผิด
    ความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ

    1.ความผิดในตัวเอง (ละติน: mala in se) คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็นความผิดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
    2.ความผิดเพราะกฎหมายห้าม (ละติน: mala prohibita) คือความผิดที่เกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นความผิด โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎีกฎหมายสามยุค ความผิดเพราะกฎหมายห้ามอยู่ในยุคกฎหมายเทคนิค
    [แก้] ลักษณะของการเกิดความผิด
    ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

    กฎหมายอาญาแบ่งลักษณะของการกระทำความผิดไว้ 3 ประเภทคือ

    1.ความผิดโดยการกระทำ
    2.ความผิดโดยการงดเว้นการกระทำ
    3.ความผิดโดยการละเว้นการกระทำ
    [แก้] สภาพบังคับของกฎหมายอาญา
    โทษทางอาญา เป็นสภาพบังคับหลักทางอาญาที่สามารถใช้ได้กับการกระทำที่เป็นความผิดทางอาญาตามกฎหมายอื่นด้วย ดุลยพินิจในการลงโทษ ที่ศาลจะลงโทษผู้กระทำความผิดหนักเบาเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับทฤษฏีซึ่งเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการลงโทษ ซึ่งแยกได้ 2 ทฤษฏี คือ ทฤษฏีเด็ดขาด การลงโทษ คือ การตอบแทนแก้แค้นการกระทำผิด การลงโทษหนักเบาย่อมเป็นไปตามความร้ายแรงของความผิด และทฤษฏีสัมพันธ์ การลงโทษมีประโยชน์คือ เพื่อให้สังคมปลอดภัย โทษจึงทำหน้าที่ห้ามไม่ให้คนกระทำความผิด และในกรณีกระทำความผิดไปแล้ว โทษมีความจำเป็นเพื่อปรับปรุงให้ผู้กระทำความผิดนั้นกลับตัวกลับใจแก้ไขการกระทำผิดที่เคยเกิดขึ้นและสามารถกลับเค้าสู่สังคมอย่างเดิม







    ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

    [แก้] เขตอำนาจศาลของไทยในคดีอาญา
    ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

    [แก้] เขตอำนาจระหว่างประเทศ

    ศาลอาญาระหว่างประเทศในกรุงเฮกประเทศเนเธอร์แลนด์[แก้] เขตอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา
    [แก้] โครงสร้างความรับผิดทางอาญา
    โครงสร้างความรับผิดทางอาญาเป็นโครงสร้างที่ใช้พิจารณาความรับผิดทางอาญาของผู้กระทำว่ามีความผิดมีโทษหรือไม่ประการใด สำหรับโครงสร้างความรับผิดทางอาญาของไทยนั้นยังไม่ปรากฏรูปแบบที่แน่ชัดอันเป็นที่ยอมรับกันได้ทั่วไปเนื่องจากปัญหาความแตกต่างเกี่ยวกับแนวคิดในทางวิชาการ สำหรับโครงสร้างทางอาญาดังต่อไปนี้ก็เป็นเพียงรูปแบบหนึ่งในหลายๆรูปแบบที่ใช้ในการอธิบายโครงสร้างความรับผิดทางอาญาของไทยเท่านั้น

    โครงสร้างความรับผิดทางอาญาแบ่งออกเป็น 3 ขั้นในการพิจารณาได้แก่
    1.การกระทำครบองค์ประกอบที่กฎหมายบัญญัติ
    2.อำนาจกระทำ (กฎหมายยกเว้นความผิด)
    3.กฎหมายยกเว้นโทษ (เป็นความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ)
    เนื้อหาของบทความนี้หรือส่วนนี้ไม่ได้นำเสนอมุมมองที่เป็นสากล เพราะกล่าวถึงเฉพาะพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นพิเศษเท่านั้น คุณสามารถพัฒนาบทความได้ โดยเพิ่มมุมมองสากลให้มากขึ้น หรือแยกประเด็นย่อยไปสร้างเป็นบทความใหม่

    [แก้] โครงสร้างที่ 1 การกระทำครบองค์ประกอบ
    1.มีการกระทำ (ม.59) คือ เคลื่อนไหว หรือ ไม่เคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้สำนึก
    2.ครบองค์ประกอบภายนอกของการกระทำความผิดในเรื่องนั้น
    3.ครบองค์ประกอบภายในของการกระทำความผิดในเรื่องนั้น
    4.ผลของการกระทำสัมพันธ์กับการกระทำตามหลักเรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างการกระทำและผล
    1.ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลาย ถ้าผลนั้นเป็น “ผลโดยตรง” (ทฤษฎีเงื่อนไข) มาจากการกระทำของผู้กระทำ คือ ถ้าไม่ทำ ผลไม่เกิด ผลที่เกิดนั้นถือว่าเป็นผลโดยตรงมาจากการกระทำของผู้กระทำ แต่ถ้าไม่ทำผลก็เกิด ผลที่เกิดไม่ใช่เป็นผลโดยตรงมาจากการกระทำของผู้กระทำ
    2.ถ้าผลแห่งการกระทำทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลายก็ต่อเมื่อ ผลนั้นเป็น “ผลโดยตรง” และเป็น “ผลธรรมดา” (ม.63) ”ผลธรรมดา” คือ ผลที่ผู้กระทำคาดเห็นความเป็นไปได้ของผลนั้น ไม่จำต้องถึงขนาดเล็งเห็นผล ระดับการวินิจฉัยคือ “วิญญูชน” หากวิญญูชนไม่สามารถคาดเห็นได้ แม้ผู้กระทำจะคาดเห็นได้ ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลายนั้น
    3.ถ้าผลแห่งการกระทำเกิดขึ้นโดยมีเหตุแทรกแซง (คือ:เหตุที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการกระทำของผู้กระทำในตอนแรก และเป็นเหตุที่ก่อให้เกิดผลในบั้นปลายขึ้น) ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลาย ก็ต่อเมื่อเหตุแทรกแซงนั้นเป็นสิ่งที่ “วิญญูชน” คาดหมายได้ แต่ถ้าวิญญูชนคาดหมายไม่ได้ ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลาย แต่ต้องรับผิดเพียงเท่าที่ตนได้กระทำไปแล้วก่อนมีเหตุแทรกแซง
    [แก้] โครงสร้างที่ 2 อำนาจกระทำ
    1.การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 68)
    2.ความยินยอมของผู้เสียหาย
    [แก้] โครงสร้างที่ 3 กฎหมายยกเว้นโทษ
    หลักกฎหมายยกเว้นโทษนั้น เป็นกรณีที่มีการกระทำอันเป็นความผิดเกิดขึ้นแล้วแต่กฎหมายไม่ประสงค์ที่จะลงโทษผู้กระทำความผิดนั้น เช่น กรณีตาม ป.อ.มาตรา 67 เป็นเรื่องของ การกระทำความผิดด้วยความจำเป็น หากการกระทำนั้นไม่เกินสมควรแก่เหตุผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ ผู้กระทำความผิดด้วยความจำเป็นนั้นถือว่าได้กระทำความผิดแล้ว แต่กฎหมายไม่ประสงค์จะลงโทษ เนื่องจากเป็นการกระทำเพราะความจำเป็นเพื่อให้ตนหรือบุคคลอื่นพ้นจากภยันตรายอันใกล้จะถึงและไม่อาจหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นใดได้




    [แก้] เหตุลดโทษ

    ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้




    ตอนที่ 1 เหตุที่ลดโทษโดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 7 ส่วน
    ส่วนที่1 ความไม่รู้กฎหมาย
    ส่วนที่2 คนวิกลจริต ซึ่งยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง
    ส่วนที่3 คนมึนเมา ซึ่งยังสามารถรู้ผิชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง
    ส่วนที่4 ป้องกัน จำเป็น เกินขอบเขต
    ส่วนที่5 การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สินบางมาตรา (ระหว่างญาติสนิท)
    ส่วนที่6 ผู้กระทำความผิดอายุ 14 ปี แต่ไม่เกิน 17 ปี หรือเกิน 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี
    ส่วนที่7 เหตุบรรเทาโทษ
    ตอนที่ 2 เหตุที่ลดโทษเพราะบันดาลโทสะ
    avatar
    pang
    LEVEL 1
    LEVEL 1


    จำนวนข้อความ : 7
    ~::MØÑ€Ÿ::~ ~::MØÑ€Ÿ::~ : 46
    ชื่อเสียง&น้ำใจ ชื่อเสียง&น้ำใจ : 1
    วันที่ลงทะเบียน : 02/01/2011
    อายุ : 27
    ทีอยู่ ทีอยู่ : อยู่ในหัวใจของทุกคน

    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Empty Re: กฏหมายอาญา ค ริ ~ ค ริ ~ ^o^

    ตั้งหัวข้อ by pang Thu 6 Jan - 22:02

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีดี กำลังต้องการไปเขียนรายงานพอดีเลย กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 78199 กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 78199 กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 78199 กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 619863
    vongola 10th
    vongola 10th
    ~ประธานคลับพรีโม่~
    ~ประธานคลับพรีโม่~


    แรงค์พิเศษ : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Member
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Rank_master
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Rank_lambo_vicechairman01
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Rank_chromefc_member
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Vocaloid_member_ranking
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ I45sx
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Vdsc0
    จำนวนข้อความ : 1723
    ~::MØÑ€Ÿ::~ ~::MØÑ€Ÿ::~ : 7479
    ชื่อเสียง&น้ำใจ ชื่อเสียง&น้ำใจ : 64
    วันที่ลงทะเบียน : 03/09/2010
    อายุ : 26
    ทีอยู่ ทีอยู่ : บ้าน ซาวาดะ สึนะโยชิ
    แหวน แหวน : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Aaaaaa11

    สัตว์เลี้ยง สัตว์เลี้ยง : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Archangelingกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Natsu10
    อาวุธ&อุปกรณ์ อาวุธ&อุปกรณ์ : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Gnnhlกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 526vdกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 0hggggกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Cszel
    เหรียญตรา เหรียญตรา : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Primoกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 4t5q0กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 314x

    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Empty Re: กฏหมายอาญา ค ริ ~ ค ริ ~ ^o^

    ตั้งหัวข้อ by vongola 10th Sat 15 Jan - 7:34

    ฮะ......อืม.............

    ขอบคุณนะ ^^
    ฮิบารินจัง
    ฮิบารินจัง
    LEVEL 47
    LEVEL 47


    จำนวนข้อความ : 467
    ~::MØÑ€Ÿ::~ ~::MØÑ€Ÿ::~ : 644
    ชื่อเสียง&น้ำใจ ชื่อเสียง&น้ำใจ : 16
    วันที่ลงทะเบียน : 22/12/2010
    อายุ : 26
    ทีอยู่ ทีอยู่ : โซลโซไซตี้
    สัตว์เลี้ยง สัตว์เลี้ยง : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 873uu
    อาวุธ&อุปกรณ์ อาวุธ&อุปกรณ์ : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Gnnhlกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Serht
    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 27p84กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 1vm6xกฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ G1jf8
    เหรียญตรา เหรียญตรา : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ 15034169กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Medal116

    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Empty Re: กฏหมายอาญา ค ริ ~ ค ริ ~ ^o^

    ตั้งหัวข้อ by ฮิบารินจัง Fri 18 Feb - 16:51

    ไมเปงไรจร๊
    *little
    *little
    LEVEL 24
    LEVEL 24


    แรงค์พิเศษ : กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Rank_member03
    จำนวนข้อความ : 231
    ~::MØÑ€Ÿ::~ ~::MØÑ€Ÿ::~ : 1259
    ชื่อเสียง&น้ำใจ ชื่อเสียง&น้ำใจ : 20
    วันที่ลงทะเบียน : 22/12/2010
    อายุ : 26
    ทีอยู่ ทีอยู่ : เมืองนามิโมริ

    กฏหมายอาญา ค ริ ~  ค ริ ~ ^o^ Empty Re: กฏหมายอาญา ค ริ ~ ค ริ ~ ^o^

    ตั้งหัวข้อ by *little Sun 20 Feb - 18:49

    ขอบคุณค่า

      เวลาขณะนี้ Sun 19 May - 17:21